SolidWorks

รายละเอียดการสอน SolidWorks
เวลาเรียนทั้งหมด 30 ชั่วโมง
จำนวน 6 ครั้ง ครั้งละ 5 ชั่วโมง
.
สิ่งที่ลูกค้าได้รับในการเรียน
– เอกสารประกอบการสอน SolidWorks
– ใบรับรองจบคอร์ส SolidWorks
– สิทธิ์เรียน SolidWorks ทบทวนฟรี 1 ปี

15,000 ฿

THB

ภาพรวมของหลักสูตร SolidWorks for Mechanical

ภาพรวมของหลักสูตร SolidWorks Essentials
เป็นหลักสูตรการสร้างงาน 3มิติเบื้องต้น ที่จะให้คุณสามารถใช้งานโปรแกรมในการสร้างงานทางด้านเครื่องกล โดยสามารถเข้าใจหลักการสร้างชิ้นงาน Part และการสร้างงานประกอบ Assembly การสร้างเอกสารแบบสั่งงาน Drawing จากชิ้นงานได้อย่างง่ายดาย


หลักสูตร 30 ชั่วโมง จำนวน 6 ครั้ง ครั้งละ 5 ชั่วโมง ราคา 15,000 บาท

 

หัวข้อการสอน 3D for Mechanical with Solidworks
ครั้งที่ 1 (Introduction & Sketching)
– เริ่มรู้จักกับโปรแกรม SolidWorks
– การใช้งาน GUI(Graphic User Interface)
– การใช้งานเมนู
– การใช้งาน Toolbars และ CommandManager
– รู้จักกับ FeatureManager Design Tree และ Property Manager
– การใช้งาน Taskpane
– การ Add File Location
– การปรับแต่งมุมมองและการแสดงผลของชิ้นงาน
– การใช้เมาส์ในโปรแกรม SolidWorks
– การปรับแต่งค่าต่างๆของตัวโปรแกรม
– การสร้างและใช้งาน Template
– รู้จักกับ Sketch ใน SolidWorks
– เริ่มต้นสร้าง Sketch แบบ 2 มิติ
– การใช้งาน Sketch Relation
– การใช้งาน Dimension
– เริ่มขึ้นรูปชิ้นงาน 3 มิติ จาก Sketch แบบ 2 มิติ

 

ครั้งที่ 2 (Basic Part Modeling & Modeling a Casting or Forging & Patterning)
– การเริ่มต้นขึ้นรูปชิ้นงาน 3 มิติ
– การเลือก Plane เพื่อเริ่มต้นสร้าง Sketch แบบ 2 มิติ
– การใช้งานคำสั่ง Extrude โดยใช้เงื่อนไข Blind
– การแสดงผลมากกว่า 1 Viewport
– การเจาะรูโดยใช้คำสั่ง Hole Wizard
– การใช้งานคำสั่ง Cut Extrude
– การ Fillet ชิ้นงาน 3 มิติ
– การเปลี่ยนสีชิ้นงาน 3 มิติ
– การสร้าง Drawing ของ Part
– การบอกขนาดชิ้นงานใน Drawing
– การทำ Section View และ Detail View
– การใช้งาน Layer
– รู้จักกับชิ้นงานแบบ Casting หรือ Forging
– การสร้าง Sketch แบบ Dynamic Mirror
– การ Extrude แบบ Midplane ร่วมกับ Draft
– การ Extrude แบบ Up to Next
– การใช้งานคำสั่ง Centerpoint Arc และการ Mirror
– การใช้งาน Keyboard Shortcut
– การสร้าง Sketch จากการ Offset Entities
– การใช้งานคำสั่ง Trim Entities
– การ Extrude แบบ Offset from Surface
– การทำ Section View และใช้คำสั่ง Measure ใน Part
– การ Extrude ตัดเนื้อแบบ Through all
– การ Fillet และการแก้ไข Fillet
– รู้จักกับคำสั่ง Pattern
– การใช้งานคำสั่ง Linear Pattern
– การใช้งานคำสั่ง Circular Pattern
– การใช้งานคำสั่ง Mirror
– การใช้งานคำสั่ง Sketch Driven Pattern
– การใช้งานคำสั่ง Curve Driven Pattern
– การใช้งานคำสั่ง Table Driven Pattern
– การใช้งานคำสั่ง Fill Pattern

 

ครั้งที่ 3 (Revolved and Sweep Feature & Shelling and Ribs & Editing – Repairs)
– เริ่มใช้งานคำสั่ง Revolved
– การขึ้นรูปชิ้นงานแบบ Multi Solid Bodies
– การใช้งานคำสั่ง Sweep
– การใช้งานคำสั่ง Chamfer
– การกำหนด Material ให้กับชิ้นงาน
– รู้จักกับคำสั่ง Mass Properties
– การคำนวณความแข็งแรงของชิ้นงานด้วย Simulation Xpress
– การใช้งาน Optimization ใน SimulationXpress
– – การใช้คำสั่ง Draft
– การเขียนชิ้นงานผนังบางด้วยคำสั่ง Shell
– การสร้าง Plane
– การสร้าง Rib เพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับชิ้นงาน
– การ Fillet แบบ Full Round
– การออกแบบแม่พิมพ์ขั้นพื้นฐานด้วย Mold Tools
– รู้จักกับ Thin Features
– รู้จักกับหน้าต่างแจ้งข้อผิดพลาดของชิ้นงาน
– การแก้ไข Sketch ที่เกิด Error
– การแก้ไข Relation และ Dimension ที่เกิด Error
– การใช้ FeatureXpert ช่วยในการแก้ไข Error
– การใช้งาน FilletXpet
– การใช้งาน DraftXpert

 

ครั้งที่ 4 (Editing – Design Change & Configuration of Part)
– การ Rollback เพิ่อดูขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นงาน
– รู้จักกับ Relation ระหว่าง Feature
– การปรับเปลี่ยนกำดับขั้นตอนการขึ้นรูปชิ้นงาน ด้วยการ Reorder
– การแก้ไข Dimension และ Relation ของ Sketch
– การเปลี่ยนแปลง Sketch Plane
– การแก้ไข Sketch
– การขึ้นรูปชิ้นงานจาการเลือกเพียงบางส่วนของ Sketch
– การใส่ Texture ให้กับ ชิ้นงาน
– รู้จักกับ Configuration ของ Part
– การใช้งาน Library Feature
– การสร้าง Library Feature

 

ครั้งที่ 5 (Design Tables and Equations & Assembly Modeling)
– การใช้วิธี Link Value และ Equation เพื่อช่วยในการกำหนดขนาดของชิ้นงาน
– การใช้งาน Design Table
– การ Insert Design Table
– สรุปภาพรวมการใช้งาน Design Table
– เริ่มต้นสร้าง Assembly (ไฟล์ชิ้นงานประกอบ)
– การนำชิ้นงานเข้ามาใน Assembly
– การใช้งานคำสั่ง Mate เพื่อประกอบชิ้นงาน เข้าด้วยกัน
– การใช้งานคำสั่ง Width Mate
– การสร้าง Assembly ย่อยและคำสั่ง Smart Mate
– การใช้งานคำสั่ง Multiple Mate

 

ครั้งที่ 6 (Using Assembly Tools)
– การวิเคราะห์ส่วนต่างๆของ Assembly
– การใช้งาน Physical Dynamic และ Physical Simulation
– การทำ Explode View ของ Assembly
– การทำ Drawing ของ Assembly
-นำ Parts มาประกอบกันในงาน Assembly
-ประกอบสลักยึดชิ้นงาน, จับคู่แบบอัตโนมัติ, ตรวจสอบความสัมพันธ์
-การแยก (Explode) และรวม (Collapse) ชิ้นงานประกอบ
-การเขียนแบบแปลน (Drawing)
-กำหนดรูปแบบกระดาษ (Drawing Sheet Format)
-ตั้งค่า Drawing Sheet, กำหนด Sheet Format
-สร้างภาพเขียนแบบฉายของชิ้นงาน Box
-กำหนดขนาดในภาพแบบฉาย (Dimension)
-แทรก Name View หรือการแทรกภาพฉาย 3 มิติ
-การพิมพ์และบันทึกภาพเขียนแบบฉาย (Print & Save)
-ใช้คำสั่งช่วยกำหนดขนาด (Annotations)
-บันทึกไฟล์แบบแปลนเป็น PDF
-บันทึกไฟล์แบบแปลนเป็น eDrawing
-เทคนิคการใช้งานคำสั่งต่างๆใน eDrawing
-แต่งชิ้นงานเสมือนจริงด้วย Materials

แบบฟอร์มสมัครอบรม

    คอร์สที่น่าสนใจ

    ขอใบเสนอราคา

      แจ้งชำระเงิน